พระเศรษฐีนวโกฏิ พิมพ์ใหญ่ เนื้อสัมฤทธิ์ ชุบสามกษัตริย์ วัดบัวขวัญ เลี่ยมกรอบเงินแท้ ชุบนาคฝังเพชร
รหัส :  486148010
false
false
false
false
true
false

พระเศรษฐีนวโกฏิ พิมพ์ใหญ่ เนื้อสัมฤทธิ์ ชุบสามกษัตริย์ วัดบัวขวัญ เลี่ยมกรอบเงินแท้ ชุบนาคฝังเพชร

รหัส : 486148010
  • พระเศรษฐีนวโกฏิ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่อำนวยลาภผลโภคทรัพย์ มีความเชื่อว่าหากใครได้บูชาเป็นเนืองนิตย์ ไม่นานจะเป็นมหาเศรษฐี
  • แผ่นชนวนมวลสาร แผ่นจาร จากครูบาอาจารย์ที่เมตตา และเหรียญคณาจารย์จากทั่วสารทิศ
  • หาทุนการศึกษาบาลีพระภิกษุ สามเณร วัดศรีบัวบาน จ.ลำพูน
  • หลวงพ่ออิฏฐ์ ภทฺทจาโร วัดจุฬามณี จ.สมุทรสงคราม
฿ 4,900

ใช้ได้ตั้งแต่  05/11/2021 - 06/06/2023
รวมยอดของ
- +
มีวัตถุมงคล
สินค้านี้จำกัดจำนวนในการสั่งซื้อ

สำหรับสมาชิก ALL member

การจัดส่ง

จัดส่งฟรีเซเว่นอีเลฟเว่น (7-11) ส่งภายใน 2-5 วันทำการ หลังชำระเงิน
ฟรี
จัดส่งตามที่อยู่ ส่งภายใน 2-5 วันทำการ หลังชำระเงิน

วัตถุมงคลยอดนิยม

ขนาดสินค้ารวมบรรจุภัณฑ์ (ก x ย x ส) 3.5 x 5 x 1.7 ซม.
น้ำหนักรวมบรรจุภัณฑ์ 0.02

พระเศรษฐีนวโกฏิ พิมพ์ใหญ่ เนื้อสัมฤทธิ์ ชุบสามกษัตริย์ วัดบัวขวัญ เลี่ยมกรอบเงินแท้ ชุบนาคฝังเพชร

พระเกจิ : หลวงพ่ออิฏฐ์ ภทฺทจาโร วัดจุฬามณี จ.สมุทรสงคราม

ชื่อวัด : นำออกให้เช่าบูชาโดย วัดศรีบัวบาน จ.ลำพูน จ.นครราชสีมา

พุทธคุณ : พระเศรษฐีนวโกฏิ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่อำนวยลาภผลโภคทรัพย์ มีความเชื่อว่าหากใครได้บูชาเป็นเนืองนิตย์ ไม่นานจะเป็นมหาเศรษฐี

เนื้อวัตถุมงคล : เนื้อสัมฤทธิ์

ขนาดวัตถุมงคล : 3.5 x 5 x 1.7 ซม.

น้ำหนักวัตถุมงคล : 0.02 กก.

รายละเอียดโครงการวัตถุมงคล

พระนี้มีชื่อว่า "พระนวเศรษฐี" เป็นที่รู้จักแพร่หลายในปัจจุบันเพราะการสร้างโดยอาจารย์เทพย์ สาริกบุตร อย่างน้อยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ซึ่งอ้างอิงตำราของวัดมณีชลขัณฑ์ จังหวัดลพบุรี เชื่อว่าที่มาของตำรา พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท) ได้มาจากล้านช้าง ปัจจุบันนิยมเรียกว่า พระเศรษฐีนวโกฏิ มีอายุคาถาเกินกว่าร้อยปีขึ้นไป มิใช่ตำราแต่งใหม่ พระอาจารย์ในจังหวัดลพบุรีสร้างกันหลายท่าน โดยเฉพาะในสายวัดนิกายธรรมยุติ และตัวบทพระคาถาแพร่หลายอยู่ในประเทศลาว รวมถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในภาคกลางสวดพระคาถาบทนี้ในงานสำคัญบางงาน แต่แทรกอยู่ในบทใหญ่ ไม่ได้แยกออกเป็นบทพิเศษ เดิมในสมัยพุทธกาล เศรษฐีเป็นตำแหน่งที่ราชาเจ้าแคว้น พระราชทานให้แก่ผู้มีทรัพย์ เป็นพ่อค้าวานิชที่มีผลต่อเศรษฐกิจและความมั่งคั่งของท้องพระคลัง แต่ในพระคาถามุ่งหวังเพียงอ้างความดีของท่านผู้ใจบุญกลุ่มหนึ่ง ที่ปรากฏนามในพระชาดก ซึ่งบริจาคทานอย่างมโหฬาร หรือมีบารมีมาก สามารถบันดาลฝนโบกขรพรรษ สงเคราะห์แก่บริวารได้ เพื่อหวังอ้างบารมีของท่านเหล่านั้น ให้ส่งผลต่อผู้บูชา บุคคลเหล่านั้นทั้งที่อยู่ร่วมสมัยพุทธกาล และสมัยของอดีตพุทธะ มีชื่อว่า พระนี้มีชื่อว่า "พระนวเศรษฐี" เป็นที่รู้จักแพร่หลายในปัจจุบันเพราะการสร้างโดยอาจารย์เทพย์ สาริกบุตร อย่างน้อยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 ซึ่งอ้างอิงตำราของวัดมณีชลขัณฑ์ จังหวัดลพบุรี เชื่อว่าที่มาของตำรา พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท) ได้มาจากล้านช้าง ปัจจุบันนิยมเรียกว่า พระเศรษฐีนวโกฏิ มีอายุคาถาเกินกว่าร้อยปีขึ้นไป มิใช่ตำราแต่งใหม่ พระอาจารย์ในจังหวัดลพบุรีสร้างกันหลายท่าน โดยเฉพาะในสายวัดนิกายธรรมยุติ และตัวบทพระคาถาแพร่หลายอยู่ในประเทศลาว รวมถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ในภาคกลางสวดพระคาถาบทนี้ในงานสำคัญบางงาน แต่แทรกอยู่ในบทใหญ่ ไม่ได้แยกออกเป็นบทพิเศษ เดิมในสมัยพุทธกาล เศรษฐีเป็นตำแหน่งที่ราชาเจ้าแคว้น พระราชทานให้แก่ผู้มีทรัพย์ เป็นพ่อค้าวานิชที่มีผลต่อเศรษฐกิจและความมั่งคั่งของท้องพระคลัง แต่ในพระคาถามุ่งหวังเพียงอ้างความดีของท่านผู้ใจบุญกลุ่มหนึ่ง ที่ปรากฏนามในพระชาดก ซึ่งบริจาคทานอย่างมโหฬาร หรือมีบารมีมาก สามารถบันดาลฝนโบกขรพรรษ สงเคราะห์แก่บริวารได้ เพื่อหวังอ้างบารมีของท่านเหล่านั้น ให้ส่งผลต่อผู้บูชา บุคคลเหล่านั้นทั้งที่อยู่ร่วมสมัยพุทธกาล และสมัยของอดีตพุทธะ มีชื่อว่า 1.ธนัญชัย 2.ยะสะ 3.สุมนะ 4.ชฏิละ 5.อนาถปิณฑิกะ 6.เมณฑกะ 7.โชติกะ 8.สุมังคละ 9.มัณฑาตุ 10.เวสสันตร รวมเป็น 10 ท่าน ในบางฉบับ มี 11 ท่าน และในบทคาถานี้ ไม่มีนาง วิสาขามหาอุบาสิกา (ไม่มีชื่อในคาถานี้) ทำให้มีการคัดลอกผิดๆ มาตลอดหลายปี ผู้รู้ได้ถือเอาคตินี้มาสร้างเป็นพระนวเศรษฐี ให้มีพระพักตร์ทั้งหมด 9 พระพักตร์ แทนคุณของผู้บำเพ็ญทานในอดีต โดยรับอิทธิพลรูปแบบของพุทธมหายาน ทำให้มีหลายพระพักตร์ การบูชาให้ใช้ดอกไม้หลากสี น้ำ ขนมหวานมังสวิรัติ (ไม่ผสมไข่) ฉบับที่อาจารย์เทพย์ สาริกบุตร สืบทอดมา มิให้ขาดข้าวหลามด้วย ผู้บูชาห้ามมิให้ดื่มสุราเมรัย เชื่อว่าจะอำนวยลาภผลโภคทรัพย์ตามสมควร ปกปักรักษาให้บ้านเรือนร่มเย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรือง และป้องกันภยันตรายสิ่งไม่ดีไม่งามต่างๆ ปัจจุบันมีการสืบสายวิธีการสร้างได้อย่างถูกต้องตามตำราดั้งเดิม.แต่เคล็ดลับแตกต่าง สูญหาย ไปตามกาลเวลา คติธรรมที่แฝงอยู่ในพระนวเศรษฐี มุ่งให้ผู้บูชายึดมั่นในการประกอบ ทานบารมี ดั่งนามที่ท่องสวด ซึ่งแต่ละท่าน ตั้งโรงทานบริจาคเป็นประจำ ผู้อยู่ใกล้เคียง ก็ได้รับเมตตากรุณา มีความร่มเย็นเป็นสุข ชาวเมืองหรือชุมชนที่มีบุคคลเหล่านี้อยู่ เมื่อไม่ลำบากต่างก็เอื้อเฟื้อช่วยเหลือกันมิได้โลภ กระหายในทรัพย์สมบัติ ต่างก็มีจิตใจผ่องใสเป็นสุข การบริจาคทรัพย์สมบัติทั้งปวง เพื่อประโยชน์สุขแก่ผู้อื่น ด้วยทรัพย์ทั้งหลาย ยังคลายกิเลส คือ ความโลภ ความหลง หวงแหน เมื่อบริจาคทรัพย์แล้ว ผู้รับก็จะได้ประโยชน์จากสิ่งนั้น และมีความชื่นชมยินดี ผู้ให้ก็จะอิ่มเอมใจว่าได้ทำประโยชน์แก่ผู้อื่น เกิดความปิติยินดีเช่นกัน ทั้งผู้ให้และผู้รับย่อมได้รับ ความสุขความอิ่มใจ

พิธีพุทธาพิเษก

ณ วัดบัวขวัญพระอารามหลวง นนทบุรี

วัดจุฬามณี1

วัดจุฬามณี2

วัดจุฬามณี3

วัดจุฬามณี4

 

วัตถุประสงค์ในการจัดสร้าง

หาทุนการศึกษาบาลีพระภิกษุ สามเณร วัดศรีบัวบาน จ.ลำพูน

 

ดำเนินการจัดสร้างโดย

นำออกให้เช่าบูชาโดย วัดศรีบัวบาน จ.ลำพูน จ.นครราชสีมา

 

หมายเหตุ

1.พระแต่ละองค์อาจแตกต่างจากภาพ เนื่องจากเป็นพระเก่าที่สะสมไว้อยู่ในสภาพแวดล้อมไม่เหมือนกัน

2.ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนวัตถุมงคล และกรุณาตรวจสอบความสมบูรณ์ของวัตถุมงคลก่อนออกจากร้าน เซเว่น อีเลฟเว่น

3.วัตถุมงคลอาจมีคราบดำ มีรูหรือรอยต่างๆที่เกิดจากกรรมวิธีการสร้าง หน้าตาอาจไม่คมชัด ซึ่งเป็นเสน่ห์ของพระแต่ละองค์ ทางวัดขออนุโมทนาในการร่วมสร้างบุญมา ณ โอกาสนี้

รีวิววัตถุมงคล (จากทั้งหมด 0 คน)
ภาพรวมความพึงพอใจ
0
0
0
0
0
ความเห็นของลูกค้าเฉลี่ย
ยอดรวม  ยังไม่มีการประเมิน